....
Community Self Management, Empowerment and Development
พลังของชุมชน
Sociology
Lecture Notes


.
ส่วนประกอบและพลังของสังคม
เขียนโดย ดร.ฟิวส
แปลโดย เจนจิรา กาญจนจารุรัตน์์

The shortest distance is not always a straight line
.
What makes a community, organization or family strong?
.
When organisations, families and communities are more and better organised, they are stronger. When they more resemble a rational, formal organisation, they have greater capacity to achieve what their members want them to achieve.

If we want to strengthen communities, families or organizations, how can we know when we have succeeded, or to what extent?  As scientists engaged in social research, how do we measure the strengthening of them, when they are increasing their capacities, or becoming more empowered? Unfortunately, we do not have a little electronic metre that, when it moves from 62 to 79, we can say that strength has increased by 17 points.

We can analyse the concept of "strength," "power" or "capacity," as applied to organisations, families or communities, look at its various components, and identify a set of observations that will indicate to us that some empowerment or increase in capacity has taken place.

The sixteen elements are: altruism; common values; communal services; confidence; communications; context; information; intervention; leadership; networking; organisation; political power; skills; trust; unity; and wealth.  These are somewhat more comprehensive than Weber’s five elements of bureaucratic strength, but identifying them is based on the same sociological principles used by Weber.

Descriptions of the Sixteen Elements:
 

พลังของสังคมและชุมชนมีพลังมากกว่าพลังของการเมือง มันรวมไปถึงการได้ทำในสิ่งที่คนชุมชนนั้นต้องการทำ  พลังของสังคมและชุมชนรวมไปถึงองค์ประกอบของความสามารถและความเข้มแข็งในด้านต่างๆขององค์ประกอบ  16 ส่วนประกอบของสังคมและชุมชนที่เปลี่ยนสังคมและชุมชนเป็นสังคมที่เข้มแข็งขึ้นมีดังต่อไปนี้
 .
................................. ๑. Altruism (ความไม่เห็นแก่ตัว)
อัตราส่วนของลำดับขั้นแต่ละขั้นสามารถบ่งบอกถึงตัวของมันได้เองโดยผ่านสังคม )สะท้อนในด้านความพร้อม, ความเป็นมนุษย์, การให้เกียรติ, การสนับสนุน, ซื่อสัตย์, ความเป็นห่วง, ความเป็นเพื่อนที่ดีต่อกัน, และความเป็นพี่น้องกัน) สังคมมีการพัฒนามากในด้านความไม่เห็นแก่ตัว สังคมนั้นได้มีการพัฒนาในด้านความสามารถได้มากกว่า (ในตัวบุคล ครอบครัวที่มีความโลบ ไม่แบ่งปันในสังคมหรือในครอบครัว)
.
๒. Common Values (การใช้ความประเมินค่าที่เหมือนกันในสังคม)
ความก้าหน้าของสมชิคกลุ่มขึ้นอยู่กับการยอมรับในสังคมและชุมชนว่าจะประมิณค่าที่เหมอืนกันในสังคม  ในที่นี้ สมาชิคในกลุ่มมีการอธบายและมีการเข้าใจกันและมีความอดกลั้นและการแสดงท่าทางต่อกันในสังคม  สังคมนั้นก็จะมีความแข็งแรงมากกว่า สสังคมที่มีการแบ่งแยกสีผิว หรือ การประเมิณค่าของคนแต่ละคนในทางที่ผิด
.
๓. Communal Services (การใช้บริการร่วมกัน)
ความสะดวกสบายและการบริการที่ทำให้มนุษย์มีการตั้งรกลากอยู่กับที่ (เช่น ถนน ตลาด น้ำดื่ม การเรียน และการบริการของสุขภาพ)  การบำรุงรักษา(ที่เชื่อถือได้) และสมาชิคในสังคมก็สามารถได้ใช้การบริการกันได้อย่างทั่วถึง  เมื่อสมาชิคของสังคมได้มีการได้ใช้ในบริการในด้านความสะดวกสบาย สังคมนั้นก็จะมีพลังเหนือกว่า (ในการวัดค่าของความสามารถของสังคมเราวัดกันที่ การเป็นระเบียบแบบแผน อันที่รวมไปถึงของเครื่องใช้ในสำนักงาน อุปกรณ์ต่างๆ)
.
๔. Communications(การสื่อสาร)
ในสังคม ในระหวางภายในและภายนอก การสื่อสารได้รวมถึงถนน เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (เช่น โทรศัพท์ วิทยุ โทรทัศน์ และ อินเตอร์เน๊ต) ลักอักษรของสื่อ (ช่น หนังสือพิมพ์นิตยสาร และหนังสือ) เคลือข่ายที่เข้าใจด้านภาษาและยินดีที่จะช่วยสังคมและชุมชน (ที่ยอมที่จะรับฟังมากกว่าที่จะเป็นคนพูด) โดยทั่วไป  เมื่อสังคมมีการพัฒนามากขึ้นในด้านการสื่อสาร สังคมนั้นก็จะมีความแข็งแรงขึ้น (สำหรับการวางแผนในสังคม นี้ก็คือการสื่อสานด้านองค์ประกอบ) สังคมไหนที่มีการสื่อสารที่ไม่ค่อยได้พัฒนา สังคมนั้นก็จะมีความไม่พัฒนาด้านการวางแผน หรือทางด้านสังคม.
.
๕. Confidence(ความเชื่อมั่น)
ในสังคมที่เร่งด่าน สมาชิคในสังคมและชุมชนได้มีความเชื่อใจใจสังคมโดยรวมเท่าไหร่? และการเข้าใจสังคมและสมาชิคทำให้สังคมนั้นได้เกิดมีความสำเร็จได้มากขึ้น  การกระทำในด้านบอก ความช่วยเหลือด้วยใจ ความดลใจ ความกระตือรือร้น การมองโลกในแง่ดี หลีกเลี่ยงความรู้สึกที่เฉื่อยชา และ ความไม่สนใจ สังคมที่มีความแข็งแรง สังคมนั้นก็จะมีความมั่นในของสังคมและสมาชิคในกลุ่มที่เพียงพอ
.
๖. Context (Political and Administrative) สภาพแวดล้อมต่างๆ (ในด้านการเมืองและด้านการบริหาร)
สังคมจะมีพลังมากขึ้นก็ต่อเมื่อสังคมนั้นมีพลังสนับสนุนมากพอ และการสนับสนุนได้ถูกนำมาใช้จริงในแต่ละด้าน  การสนับสนุนนี้รวมถึง (๑) การเมือง (รวมไปถึงการประเมิณค่าของผู้นำแต่ละประเทศ และกฏหมาย) และ (๒) การปกครอง (ทัศนคติของประชากรและรัฐบาลที่มีต่อกัน) การสนับสนุนของสังคมมักมาจากความถูกต้องของกฏหมาย เมื่อการเมือง หัวหน้าของประเทศ และการปกครองได้มีการกำหนดในการควบคุมประเทศ ประเทศพวกนี้ก็จะมีพลังน้อย แต่เมื่อประเทศใดที่สมาชิคในสังคมได้มีการช่วยเหลือด้วยตัวเองก่อนแล้ว ประเทศนั้นก็จะมีความแข็งแรงมากกว่า สังคมมีความแข็งแรงมากกว่า เมื่อสังคมนั้นได้มีการสนับสนุนที่ถูกต้องและจริงจัง
.
๗. Information(ข่าวสาร)
ข่าวสารที่มีมากกว่าที่มีอยู่หรือมากกว่าที่ไม่มีการนำเสนอ ความแข็งแรงของสังคมขึ้นอยู่กับการพัฒนาและการมีอยู่ของการสื่อสารของข่าวสาร ถ้าสังคมใดมีการสื่อสารมากในสังคม สังคมนั้นก็จะมีความเข้มแข็งและมีความเข้าใจในสังคมมากขึ้น
.
๘. Intervention(การแทรกแซง)
อะไรคือของเขตและส่างผลกระททบให้มีชีวิตชีวาในสังคม (การจัดการของลางรถไฟ การเพิ่มกระกระตุ้น) เป็นต้นเหตุของการที่มีสังคอมเข้มแข็ง? แหล่งกำเนิดจากข้างนอกของความใจกล้าว การทำบุญได้เพิ่งขึ้นและ สังคมมีพลังลดลง หรือความยากของสังคมทำให้คนเรากระตือรือร้นและทำให้สัคมมีความเข้มแข็งมากขึ้นใช่หรือเปล่า มันขึ้นอู่กับการตัดสินใจของคนภายนอกหรืเปล่าที่ใครมีความแตกต่างของจดหมายและความฝันในสังคมของตัวมันเอง? เมื่อสังคมใดมีต้นตอของการพัฒนามาก สสังคมนั้นก็จะมีความเข้มแข็งมากขึ้น
.
๙. Leadership(ความเป็นผู้นำ)
ผู้นำมีพลัง การปกคลุม และความสามารถที่จะเปลี่ยนสังคมได้ เมื่อผู้นำมีผลกระทบอย่างมากต่อสสังคม สังคมนั้นก็จะมีความแข็งแรงมากขึ้น แต่เมื่อสังคมใดไม่มีผู้นำที่เป็นผู้นำ สังคมนั้นก็จะเสื่อมและถอยหลัง (ความแข็งแรงของสังคม ไม่ใช่ความแข็งแรงของผู้นำ) เมื่อสังคมได้มีการทำตามและยึดมั่นในกฎ ผู้นำจะต้องมีความสามารถในการช่วยเหลือและการโน้มน้าวดึงดูดใจผู้อื่น เมื่อผู้นำมีผลกระทบต่อสังคมมากเท่าไหร่ สังคมนั้นก็จะมีความเป็นระเบียบมากขึ้น (ผู้นำไม่ดีพอก็ทำให้สังคมถดถอย)
.
๑๐. Networking(เครือข่าย)
ในที่นี้ มันไม่เกี่ยวกับว่า “คุณคือใคร” แต่มันหมานยถึง “ใครที่คุณรู้” นั่นที่จะช่วยให้แหล่งกำเนิดมีความแข็งแรง (เหมือนกับโจ๊กที่ว่า รู้ว่าทำอย่างเดียวไม่พอต้องรู้ว่าใครที่จะช่วยเราได้งานด้วย) ในสังคมที่ให้ ผู้นำมักรู้ว่าใครควรเข้าหา (เช่นการวางแบบแผน) ใครที่สามารถช่วยให้ต้นเหตุหรือต้นตอมีความแข็งแรงมากขึ้น? การสื่อสารที่มีประโยชน์มันจะเกิดขึ้นในสังคมนั้นอยู่แล้วและบางทีคนที่สามารถช่วยได้ อาจจะอยู่ภายนอกของสังคม เมื่อสังคมใดมีเครือข่ายมาก สังคมนั้นก็จะมีความแข็งแรงและความเป็นระเบียบมากกว่า (การไม่มีเครือข่ายทำให้สังคมไม่เก้าต่อไป)
.
๑๑. Organization(ระบบ)
การประเมิณค่าสังคมจากการมองที่แตกต่างกันของแตต่ละสมาชิคนั้นสามารถ สนับสนุนทั้งหมดของสังคมรวมไปถง (สังคมศาสตร์) โครงสร้างของความซื่อสัตย์ การยึดถือหลักคุณธรรม ผลผลิต การตัดสนิใจของกระบวนการหรือการดำเนินการ ของหน้าที่และกฏของหน้าที่แต่ละบุคคล  เมื่อสังคมมีการเป็นระบบมาก หรือระบบมีผลต่อสังคม สังคมมีระบบ สังคมนั้นก็จะมีความแข็งแรงด้วยตัวของมันเอง
.
Political Power: The power of a community or organisation is the degree to which it can participate in national and district decision making.  This relates to the political dimension of culture. Just as individuals have varying power within a community, so communities and organisations have varying power and influence within the district and nation.  The more political power and influence that a community or organisation can exercise, the higher level of capacity it has.
.
๑๒. Political Power (พลังของการเมือง)
ประเมินโดยสังคมที่สามารถร่วมในประเทศในการตัดสินใจ เหมือนกับแต่ละคนที่มีส่วนร่วมที่จะช่วยประเทศชาติตัดสินใจ และสังคมมีพลังมากกว่าที่จะครอบคลุมในประเทศ เมื่อมีพลังของการเมืองมากและครอบคลุมในสังคมหรือการวางแผนสามารถเกิดและได้ลองในสังคม ความสามารถของประเทศและสังคมก็จะมีมากขึ้นไป
.
๑๓. Skills(ทักษะ) 
ความสามารถของแต่ละบุคคลที่ให้ในแต่ละสังคมและมีความสามารถในการทำให้เสร็จเหมือนที่ต้งอการ ทาษะของเฉพาะสามขา การจัดการของทักษะ ระบบของทักษะ และการรวมตัวและเคลือนไหวของทักษะ เมื่อสังคมมีทักษะมาก(ในกลุ่มหรือคนเดียว) สังคมหรือองค์กรจะมีการพัฒนาและมีความก้าวหน้าไปอย่างมาก)
.
๑๔. Trust(เชื่อใจ)
พูดถึงโดยแตต่ละคนในสังคมมีความเชื่อใจกัน โดยเฉพาะหัวหน้าของสังคมและข้าราชการ ที่มันสะท้อนถึงความยุติธรรม (ซื่อสัตย์ ความเชื่อถือได้ เปิดรับ โปร่งใส เชื่อใจ)ในสังคม  เมื่อความเชื่อใจในสังคมมีมากผลสะท้อนก็จะออกมาที่ว่า สังคมได้มีความสามารรถและแข็งแร่งในด้านของความเชื่อใจ (ไม่เชื่อใจ โกง การยักยอก หรือต้นเหตุต่างๆที่ทำให้คนแตต่ละสังคมไม่เชื่อใจกัน)
.
๑๕. Unity(ความสามัคคี)
การแบ่งปันทรัพย์สินที่มีปรากฏอยู่จริง (เช่น การเขียนกับสังคม) ถึงแม้ว่าแต่ละสสังคมจะมีการแบ่งหมวดหมู่ (ศาสนา ชั้น เงินเดือน อายุ เพศ ชนชาติ และต้นตระกูล) ในสังคมที่มีสมาชิคที่มีความอดกล้นในเรื่องต่างๆที่คนแต่ละคนมีและยอมที่จะทำงานร่วมกันและมีพยายามหาอะไรที่เหมือนกันและแบ่งปันกัน  เมื่อสังคมและองค์กรมีการรวมตัวกันมากขึ้นหรือมีการสอดคล้องกันมากขึ้น สังคมก็จะมีความแข็งแรงมากขึ้น (ความสามัคคีไม่ได้หมายถึงคนที่มีอะไรเหมือนกัน แต่คนแต่ละคนทนและยอมรับในสิ่งต่างๆที่คนอื่นมีและทำงานร่วมกันได้)
.
๑๖. Wealth(ความมั่งคั่ง)
ประเมินด้วยทั้งหมดของสังคม (รวมถึงความแตกต่างของสังคมด้วย) ที่มีการควบคุมมากกว่าที่เป็นอู่จริง และมีศักยภาพและสิ่งของที่ส่งผลให้มีการบริการที่ดีและมีประโยชน์ การเงินและไม่เกี่ยวกับการเงิน (รวมถึงงาน ที่อยู่ เครื่องมือเครื่องใช้ อุปกรณ์ ความรู้ ความชำนาญ)  เมื่อังคมใดมีความมั่งคั่งมาก ในด้านต่างๆ สังคมนั้นก็จะมีความแข็งแรง (แต่เมื่อแต่ละครอบคัวหรือแตต่ละสังคมมีความโลบมาก โดยไม่แบ่งปัน สังคมก็จะมีความเสื่อถอยได้)
.
บทสรุป
เมื่อสังคมมีการวางแผนมากในแตต่ละองค์ประกอบที่กล่าวมา สังคมนั้นก็จะมีความแข็งแรงและมีพลังมาก สังคมที่มีศูนย์รวม มันไม่ได้หมายถึงว่าสังคมจะมีความเพิ่มความแข็งแรงของสังคมโดยเพิ่งอันหนึ่งอันใดในองค์ประกอบที่กล่าวมา  สังคมที่แข็งแรงจะมีสังคมที่เปลี่ยน และพัฒนาและนั่นก็จะมี 16องค์ประกอบที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
 .
Measuring these Elements (การวัดค่าขององค์ประกอบ)
ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ การเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับ สังคมและคนในสังคม
 .
See Economic Dimension.
....
16 Elements of Strength
The Meaning of Culture
.
Bottom of Page
Copyright Phil Bartle
.Key Words
Sociology Readings
Training modules
Hub of this module.
.Akan Studies
Handbooks
 
Sociology Readings.
.Send an email The site map lists (and links to) all web pages (in English) on this web site Link to the home page of this web site
Updated: 2007.06.08.